สำหรับใครที่เป็นสาวกกีฬา e – sport ห้ามพลาด!!...กับกิจกรรมเสวนาในหัวข้อ “เปิดประสบการณ์กีฬา e – sport ” ที่จะมาแนะนำถึงกระบวนการเรียนรู้ในวงการกีฬา e – sport ได้อย่างเจาะลึก โดยได้รับเกียรติวิทยากรผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อาษา ตั้งจิตสมคิด หนึ่งในนักพัฒนาเกมของเมืองไทยที่ได้สร้าง “อาษาเฟรมเวิร์ค” ซึ่งเป็นฐานเทคโนโลยีในการพัฒนาเกม 2D และ 3D รายละเอียดของเนื้อหาในการบรรยาย
Introduction E-Sport
1.E-Sport คืออะไร
1.1 เกมคืออะไร
1.2 เกมที่นำมาเป็นกีฬา E-Sport เผย 6 เกมที่ใช้แข่ง eSports ใน ASEAN Games 2018
สมาคมกีฬาอีสปอร์ตแห่งประเทศไทย (TESF: Thailand E-Sports Federation)
- User Experience (UX) กับ E-Sport
2.1 UX ต่อ E-Sport (แบ่งตาม Generations)
2.2 Category (UVIA)
Visual Design
Usability
Interaction Design
Accessibility
2.3 Considerations สำหรับ E-Sport โดยแบ่งตามสายงาน
ผู้พัฒนาเกม
ผู้จัดจำหน่ายและให้บริการเกม
ผู้จัดการแข่งขัน
ผู้จัดการทีม
นักแคสเกม
นักวางแผนเกม
นักกีฬา
ผู้ชม
3. การศึกษากับ E-Sport กับประเทศไทย 4.0
4. ธุรกิจกับ E-Sport กับประเทศไทย 4.0
5. เด็กติดเกมและนักกีฬา E-Sport ต่างกันอย่างไร
6. ประสบการณ์และมุมมองจากผู้พัฒนาเกมต่อ E-Sport
รับสมัครจำนวน 40 ที่นั่ง
เหมาะสำหรับ: กลุ่มองค์ภาคธุรกิจ, กลุ่ม startup, บุคคลทั่วไปที่อยากทำความเข้าใจกีฬา e- sport และผู้ที่สนใจทั่วไป
===============================================
สถานที่
ชั้น 2 ห้องworkshop (TCDC COMMONS W DISTRICT)
โทร: 02 178 0096 (ตั้งแต่ 10.30 - 17.30น) ปิดทุกวันจันทร์
===============================================
ประวัติวิทยากร
ปัจจุบันเป็นที่ปรึกษาแผนกวิจัยและพัฒนาเกมของอาษาโปรดักชั่น หลงใหลในงานสร้างเกมมายาวนานกว่า 18 ปี มีผลงานด้านเกมคือเกมซารอส เอ็กซ์ แบทเทิ้ล วางจำหน่ายบน Platform PC (2007) และ Arcade (2009), เป็นผู้แต่งตำราสร้างเกมซีรี่ย์ ทะลวงถึงแก่นเรื่องเขียนเกมทั้ง 4 แอปปิโซด อีกทั้งยังเป็นนักเขียนบทความทางวิชาการด้านการพัฒนาเกม มีการเผยแพร่ออกมาอย่างต่อเนื่อง หากมีเวลาว่างจากงานประจำจะไปถ่ายทอดประสบการณ์และความรู้ด้านการพัฒนาเกมให้แก่น้องๆที่สนใจโดยเป็นอาจารย์ตามมหาวิทยาลัยต่างๆ
ทรัพย์สินทางปัญญา
ผลงาน Flagship Project คือ ARSA Framework ถูกขึ้นบัญชีสิ่งประดิษฐ์ไทยแล้วและเป็นงานอันมีลิทสิทธิ์ดังนี้
1.) สิ่งประดิษฐ์ไทยรับรองโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รับรองเมื่อวันที่ 4 กันยายน 2560
2.) ลิขสิทธิ์รับรองโดยสำนักลิขสิทธิ์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ รับรองเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2560