Software Freedom Day 2016 - Bangkok
17 - 18 กันยายน 2559
ณ สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (บางเขน)
จัดโดยสมาคมศึกษาและพัฒนาโอเพ่นซอร์ส ร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ซอฟต์แวร์ฟรีดอมเดย์ หรือ Software Freedom Day (SFD) เป็นกิจกรรมเฉลิมฉลองให้กับ "Free Software"
ที่จัดขึ้นพร้อมกันทั่วโลก ในวันเสาร์ที่สามของเดือนกันยายน ซึ่งปีนี้นับเป็นปีที่ 15 ของกิจกรรมนี้
ฟรี ซอฟต์แวร์ ที่กล่าวถึงอ้างอิง (https://www.gnu.org/philosophy/free-sw.html) ตามที่สถาบันฟรีซอฟต์แวร์กล่าว จะต้องประกอบด้วยลักษณะสำคัญของความมี "อิสระ" 4 ประการ
- มีอิสระในการใช้งาน
- มีอิสระในการศึกษา แก้ไข นั่นคือสามารถเข้าถึงซอร์สโค้ด
- มีอิสระในการทำสำเนาซอร์สโค้ด เพื่อแจกจ่ายหรือช่วยเหลือผู้อื่น
- มีอิสระในการทำสำเนา หรือแจกจ่ายซอร์สโค้ดในส่วนที่เราได้แก้ไข เพื่อให้ผู้อื่นได้ใช้งานส่วนที่เราแก้ไขนั้น
พวกเรากลุ่มผู้ใช้ซอฟต์แวร์เสรี จึงได้คิดที่จะร่วมกันจัดงานนี้ขึ้น เพื่อแบ่งปันความ “มีอิสระ” ให้แก่กันมากขึ้น
วัดถุประสงค์
- เพื่อเป็นการแบ่งปันความรู้และทักษะในศาสตร์ที่สำคัญที่ใช้เทคโนโลยีโอเพนซอร์สในการทำงาน
- เพื่อเป็นเวทีพบปะของผู้ที่ใช้งานและผู้ที่สนใจใช้งานซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส
ลักษณะงาน
- การสัมมนา ตลอดระยะเวลา 2 วัน
- สัมมนาเชิงปฎิบัติการที่จัดขนานกัน มีทั้งหมด 3 วัน (จัดเป็น tutorial workshop ก่อนงาน 1 วัน)
- การออกบูธของบริษัทและหน่วยงานที่มีผลิตภัณฑ์และมีการใช้งานซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส
จำนวนผู้เข้าร่วมสัมมนา 300 คน
บัตรเข้าร่วมงาน แบ่งดังต่อไปนี้
- บัตรเข้าร่วมสัมมนา 2 วัน 500 บาท (นักศึกษาต่ำกว่าระดับบัณฑิตศึกษา และสมาชิกสมาคมฯ ไม่เสียค่าใช้จ่าย โดยลงทะเบียนได้ที่ http://goo.gl/9XtkkP)
- บัตรเข้าร่วม workshop กิจกรรมละ 500 บาท
- บัตรเข้างาน Networking Party ราคา 500 บาท
หมายเหตุ
- ราคาข้างต้นรวมอาหารกลางวันและอาหารว่าง 2 มื้อ ตลอด 2 วัน
- workshop จะรับจำนวนจำกัด ลงแล้วไม่สามารถเปลี่ยน workshop ได้
กำหนดการสัมมนาและรายเอียดดูได้ที่ http://www.oseda.or.th/th/sfd2016
Workshop
- Zimbra Installation 1 วัน รับ 30 คน - คุณศิวัฒน์ ศิวะบวร x-sidekick
- Git for software development and practice 1 วัน รับ 50 คน - ศุภเกศ วงศ์คำภู (Tomz Rocks) AGODA
- R Workshop 1 วัน รับ 30 คน - ดร.ชัยณรงค์ เกษามูล ภาควิชาคณิตศาสตร์และสถิติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- Big Data Analytics with Pentaho Hadoop Workshop วันที่ 18 ครึ่งบ่าย รับ 30 คน - รศ.ดร.สุณี รักษาเกียรติศักดิ์
- Ceph Storage workshop 18 ครึ่งบ่าย รับ 30 คน - Cluster Kit
รายละเอียดปฎิบัติการ (Workshop)
- Zimbra Installation รับ 30 คน
วิทยากร คุณศิวัฒน์ ศิวะบวร X-Sidekick
วัน-เวลา วันศุกร์ ที่ 16 กย. 09.00-16.00 น.
เนื้อหา
1) การ setup CentOS ให้เหมาะกับการติดตั้ง zimbra
1.1) การแบ่ง disk partition
1.2) การ setup Name Server บน CentOS
1.3) การ setup firewall บน CentOS
2) การติดตั้ง Zimbra
3) เทคนิคการ setup และ ดูแล Zimbra
สิ่งที่ผู้เข้าอบรมต้องเตรียมมา
เครื่อง NoteBook ที่มี memory อย่างน้อย 6 GB เพื่อลง virtualbox
- Git for everyone workshop รับ 50 คน
วิทยากร ศุภเกศ วงศ์คำภู (Tomz Rocks)
วัน-เวลา วันเสาร์ ที่ 17 กย. 11.00-16.00 น.
สิ่งที่ผู้เข้าอบรมต้องเตรียมมา - เครื่อง NoteBook ที่ติดตั้งโปรแกรม git
- R Workshop รับ 30 คน
วิทยากร ดร.ชัยณรงค์ เกษามูล ภาควิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วัน-เวลา วันเสาร์ ที่ 17 กย. 11.00-16.00 น.
❖ Session I : 11.10 - 12.00 - Introduction to R and RStudio
|
❖ Session II : 13.30 - 14.50 - Basic data manipulation
- Basic data visualization
|
❖ Session III : 15.20 - 17.20 - Mini Data Science Project
|
สิ่งที่ผู้เข้าอบรมต้องเตรียมมา
เครื่อง NoteBook ที่ติดตั้งโปรแกรม R และ Rstudio รุ่นล่าสุด
- Big Data Analytics with Pentaho-Hadoop Workshop รับ 30 คน
วิทยากร รศ.ดร.สุณี รักษาเกียรติศักดิ์ สมาคมศูนย์วิชาการไทยออสเตรเลีย http://www.tatsc.or.th/
วัน-เวลา วันอาทิตย์ ที่ 18 กย. 13.00-16.00 น.
13:15 – 14:15 แนวคิดและหลักการของการวิเคราะห์big data ด้วย Hadoop และ Pentaho-Hadoop (Pentaho Data Science Pack) ติดตั้ง Oracle Virtual Box และ Image สำหรับปฏิบัติการ
14:15 – 14:30 พัก
14:30 – 15.45 วิเคราะห์ข้อมูลตัวอย่าง Web log ด้วย Pentaho-Hadoop
15:45 – 16.00 สรุปการอบรม และ ตอบคำถามผู้เข้าอบรม
สิ่งที่ผู้เข้าอบรมต้องเตรียมมา
เครื่อง NoteBook ที่มี memory อย่างน้อย 8 GB เพื่อลง virtualbox
- Ceph Storage workshop รับ 30 คน
วิทยากร คุณเจษฎา มาลัยศิริรัตน์ และอภิรัฐ พรมญาณ Cluster Kit
วัน-เวลา วันอาทิตย์ ที่ 18 กย. 13.00-16.00 น.
Outline
Storage Introduction
- Traditional Storage - Int /Ext /Network Storage
- Software-Defined Storage - Object Storage
Ceph Storage
Ceph Introduction
- Ceph Architecture
- Ceph component
CRUSH Algorithm
Communicate Ceph
- Block Storage (SAN)
- File System (NAS)
- Object Storage (API)
Ceph Storage : Quick Installation
- Hardware Requirement
- Workshop : Install Ceph Storage for Object Storage and Block Storage
Using Ceph
- Rados Block Device (RBD)
- Using Object Storage
สิ่งที่ผู้เข้าอบรมต้องเตรียมมา
เครื่อง NoteBook ที่มี memory อย่างน้อย 6 GB เพื่อลง virtualbox